เวิลด์แพลนท์ ไคโตซาน คืออะไร
เวิลด์แพลนท์ ไคโตซาน WorldPlant Chitosan
สารปรับปรุงดินและน้ำ ช่วยให้รากพืชแข็งแรง
ยับยั้งเชื้อรา สร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
สกัดจากธรรมชาติ 100%
ทำไมต้องใช้ไคโตซานกับพีช
1.ช่วยยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
การยับยั้งเชื้อสาเหตุของโรคพืช ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราบางชนิด โดยไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ ลำต้นพืช ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืช
ในกรณีที่เกิดเชื้อโรคพืชแล้ว ยังรักษาโรคพืช และสร้างความต้านทานโรคให้กับพืชที่ไม่ติดเชื้อโดยไคโตซาน มีคุณสมบัติที่สามารถออกฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้นต่อพืชได้ ช่วยกระตุ้นระบบป้องกันตัวเองของพืช ทำให้พืชผลิตเอนไซม์ และสารเคมีเพื่อป้องกันตนเอง พืชจึงลดโอกาสที่จะถูกคุกคาม โดยเชื้อต่างๆ สาเหตุของโรคพืชได้ ดังนั้นเกษตรกรจึงควรใช้ไคโตซานขณะที่พืชยังเล็กหรือตั้งแต่เริ่มเพาะปลูก ไคโตซานจะช่วยเคลือบ เมล็ดพันธุ์หรือแช่เมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก
ป้องกันเชื้อราที่จะมาทำร้ายเมล็ดพันธุ์ กระตุ้นการงอกของรากของเมล็ดพันธุ์ได้ดี เร่งรากยาวทำให้พืชสามารถกินปุ๋ยได้มากขึ้น ดังนั้นจึงลดปุ๋ยลง เมื่อพืชกินปุ๋ยได้มากขึ้น ก็ขยายท่อลำเลียงพืชได้ดีขึ้น ลำต้นใหญ่ขึ้น พืชจึงสมบูรณ์ทำให้เพิ่มผลผลิต ทั้งผลผลิตที่ได้ก็มีคุณภาพดี ป้องกันและกำจัดโรคพืช กระตุ้นให้พืชสร้างสารป้องกันโรคพืช เช่น ไฟโตอะเล็กซิน ไคติเนส รวมทั้ง ยับยั้ง RNA ของเชื้อรา ไม่ให้สามารถขยายพันธุ์ได้ พืชจึงแข็งแรง (90% โรคพืชเกิดจากเชื้อรา) ประหยัดยาฆ่าแมลง เชื้อรา โรคพืชเพราะไม่มีแมลงมากินต้นพืช ทำให้สามารถผลิตสารลิกนิน เพื่อ ป้องกันเชื้อราได้ด้วยตนเอง พืชจะแข็งแรง มีภูมิต้านทานต่อโรคได้ด้วยตนเอง พืชจะแข็งแรงมีภูมิต้านทานต่อโรค
2. ทำให้พืชเกิดการสร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
ไคโตซาน จะกระตุ้นให้มีการผลิตสารลิกนินและแทนนินของพืชมากขึ้น พืชสามารถป้องกันตัวเองจากการกัด ดูด ทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตว่าต้นพืชที่ได้รับ ไคโตซาน จะมีแวกซ์เคลือบที่ผิวใบ ซึ่งปกติแล้วพืชจะสร้างสารเหล่านี้ขึ้นมาเพื่อป้องกันตัวจากแมลง ศัตรูพืชและโรคพืชต่าง ๆ แต่ในต้นพืชที่ไม่สมบูรณ์มากพอ การสร้างสารแวกซ์เหล่านี้จะบางตามไปด้วย ดังนั้นเมื่อถูกแมลงเข้าทำลาย จึงเสียหายได้ง่าย และในทิศทางเดียวกันเมื่อแวกซ์ของพืช
ถูกทำลายเป็นโอกาสให้เชื้อราหรือแบคทีเรียโรคพืชเข้าทำลายซ้ำอีกครั้ง
การฉีดพ่นสารไคโตซานจึงไปช่วยในการเคลือบใบ ผลและดอกที่ถูกแมลงศัตรูพืชทำลาย ทำให้เชื้อราหรือแบคทีเรียโรคพืช ไม่สามารถเข้าไปย่อยสลายเซลพืชได้ และไคโตซาน จะมีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่งเป็นกลิ่นที่แมลงปีกแข็ง ศัตรูพืชได้กลิ่นจะบินหนีไป เพราะได้กลิ่นเฉพาะของไคโตซาน แมลงที่กัดกินต้นพืชจะไข่ทิ้งไว้ เพื่อขยายพันธุ์ จึงทิ้งสาร ไคโตซาน ไว้เพื่อจับจองพื้นที่แมลง เมื่อได้กลิ่นจะบินหนีทันที เพราะคิดว่าพื้นที่บริเวณนี้มีแมลงมาจับจองพื้นที่แล้วนั่นเอง
3.สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช
ไคโตซานถูกใช้เป็นสารเร่งการเจริญเติบโต ให้ผลเช่นเดียวกับฮอร์โมนเร่งราก ใช้กระตุ้นการงอกของกิ่งชำไม้ดอกและไม้ประดับต่าง ๆ โดยนำส่วนของพืชที่ต้องการชำแช่ในสารละลายเจือจางของไคโตซานประมาณ 2 ชั่วโมง ก่อนนำไปปักชำในวัสดุเพาะชำ การฉีดพ่นไคโตซานในนาข้าวส่งให้ผลผลิตข้าวมีปริมาณเพิ่มขึ้น 41.7 – 91.5% โดยขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่ทำการเพาะปลูก และการใช้ไคโตซานฉีดพ่นกล้วยไม้ซึ่งมีผลเร่งการเจริญเติบโตของใบใหม่ ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมต่อการเพิ่มจำนวนดอกและกระตุ้นการเจริญเติบโตของใบ
4. ช่วยปรับค่าPHและเป็นประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ในดิน
ช่วยเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน ไคโตซาน สามารถ ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน เช่น เชื้อที่มีประโยชน์ต่อพืชทำให้เกิดการลดปริมาณของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคพืช ปรับค่า PH ของดินให้เป็นกลาง เป็นปุ๋ยให้แก่พืช พืชทุกชนิดที่ได้ใช้ ไคโตซาน จะทำให้พืชสามารถตรึงเอาไนโตรเจนนำมาใช้ได้ ถ้าเป็นเห็ดสามารถตรึงเอาคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ได้เป็นอย่างดี ดินที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชจะต้องมีค่า pH 5.5-8.5 การใช้ ไคโตซานอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ค่า pH ของดินเท่ากับ 6-7 ซึ่งเป็นกลางที่สุด จึงเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชอย่างยิ่ง รวมทั้งคุณสมบัติที่ช่วยสลายเคมีในดิน อันต่อเนื่องจากใช้ปุ๋ยเคมีอย่างยาวนาน รวมทั้งช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน รวมทั้งลดปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นโรคพืช
5.ประโยชน์ของการใช้ไคโตซานหลังการเก็บเกี่ยวพืชผล
พืชที่ใช้ ไคโตซานทุกชนิด จะเก็บไว้ได้ยาวนานกว่าพืชที่ไม่ได้ใช้ (พิสูจน์ได้) โดยการรักษาคุณภาพผลผลิต เพราะว่าพืชที่ใช้ไคโตซาน มีการเคลือบบนผิวผักผลไม้เป็นลักษณะฟิล์มบางใส ๆ ปราศจากสีและกลิ่น ทนทานต่อสภาวะกรดได้ดี
การใช้เวิลด์แพลนท์ไคโตซาน
20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
สารปรับปรุงดินและน้ำ ช่วยให้รากพืชแข็งแรง
ยับยั้งเชื้อรา สร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
สกัดจากธรรมชาติ 100%
ทำไมต้องใช้ไคโตซานกับพีช
1.ช่วยยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
การยับยั้งเชื้อสาเหตุของโรคพืช ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราบางชนิด โดยไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ ลำต้นพืช ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืช
ในกรณีที่เกิดเชื้อโรคพืชแล้ว ยังรักษาโรคพืช และสร้างความต้านทานโรคให้กับพืชที่ไม่ติดเชื้อโดยไคโตซาน มีคุณสมบัติที่สามารถออกฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้นต่อพืชได้ ช่วยกระตุ้นระบบป้องกันตัวเองของพืช ทำให้พืชผลิตเอนไซม์ และสารเคมีเพื่อป้องกันตนเอง พืชจึงลดโอกาสที่จะถูกคุกคาม โดยเชื้อต่างๆ สาเหตุของโรคพืชได้ ดังนั้นเกษตรกรจึงควรใช้ไคโตซานขณะที่พืชยังเล็กหรือตั้งแต่เริ่มเพาะปลูก ไคโตซานจะช่วยเคลือบ เมล็ดพันธุ์หรือแช่เมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก
ป้องกันเชื้อราที่จะมาทำร้ายเมล็ดพันธุ์ กระตุ้นการงอกของรากของเมล็ดพันธุ์ได้ดี เร่งรากยาวทำให้พืชสามารถกินปุ๋ยได้มากขึ้น ดังนั้นจึงลดปุ๋ยลง เมื่อพืชกินปุ๋ยได้มากขึ้น ก็ขยายท่อลำเลียงพืชได้ดีขึ้น ลำต้นใหญ่ขึ้น พืชจึงสมบูรณ์ทำให้เพิ่มผลผลิต ทั้งผลผลิตที่ได้ก็มีคุณภาพดี ป้องกันและกำจัดโรคพืช กระตุ้นให้พืชสร้างสารป้องกันโรคพืช เช่น ไฟโตอะเล็กซิน ไคติเนส รวมทั้ง ยับยั้ง RNA ของเชื้อรา ไม่ให้สามารถขยายพันธุ์ได้ พืชจึงแข็งแรง (90% โรคพืชเกิดจากเชื้อรา) ประหยัดยาฆ่าแมลง เชื้อรา โรคพืชเพราะไม่มีแมลงมากินต้นพืช ทำให้สามารถผลิตสารลิกนิน เพื่อ ป้องกันเชื้อราได้ด้วยตนเอง พืชจะแข็งแรง มีภูมิต้านทานต่อโรคได้ด้วยตนเอง พืชจะแข็งแรงมีภูมิต้านทานต่อโรค
2. ทำให้พืชเกิดการสร้างความต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช
ไคโตซาน จะกระตุ้นให้มีการผลิตสารลิกนินและแทนนินของพืชมากขึ้น พืชสามารถป้องกันตัวเองจากการกัด ดูด ทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตว่าต้นพืชที่ได้รับ ไคโตซาน จะมีแวกซ์เคลือบที่ผิวใบ ซึ่งปกติแล้วพืชจะสร้างสารเหล่านี้ขึ้นมาเพื่อป้องกันตัวจากแมลง ศัตรูพืชและโรคพืชต่าง ๆ แต่ในต้นพืชที่ไม่สมบูรณ์มากพอ การสร้างสารแวกซ์เหล่านี้จะบางตามไปด้วย ดังนั้นเมื่อถูกแมลงเข้าทำลาย จึงเสียหายได้ง่าย และในทิศทางเดียวกันเมื่อแวกซ์ของพืช
ถูกทำลายเป็นโอกาสให้เชื้อราหรือแบคทีเรียโรคพืชเข้าทำลายซ้ำอีกครั้ง
การฉีดพ่นสารไคโตซานจึงไปช่วยในการเคลือบใบ ผลและดอกที่ถูกแมลงศัตรูพืชทำลาย ทำให้เชื้อราหรือแบคทีเรียโรคพืช ไม่สามารถเข้าไปย่อยสลายเซลพืชได้ และไคโตซาน จะมีกลิ่นเฉพาะตัว ซึ่งเป็นกลิ่นที่แมลงปีกแข็ง ศัตรูพืชได้กลิ่นจะบินหนีไป เพราะได้กลิ่นเฉพาะของไคโตซาน แมลงที่กัดกินต้นพืชจะไข่ทิ้งไว้ เพื่อขยายพันธุ์ จึงทิ้งสาร ไคโตซาน ไว้เพื่อจับจองพื้นที่แมลง เมื่อได้กลิ่นจะบินหนีทันที เพราะคิดว่าพื้นที่บริเวณนี้มีแมลงมาจับจองพื้นที่แล้วนั่นเอง
3.สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช
ไคโตซานถูกใช้เป็นสารเร่งการเจริญเติบโต ให้ผลเช่นเดียวกับฮอร์โมนเร่งราก ใช้กระตุ้นการงอกของกิ่งชำไม้ดอกและไม้ประดับต่าง ๆ โดยนำส่วนของพืชที่ต้องการชำแช่ในสารละลายเจือจางของไคโตซานประมาณ 2 ชั่วโมง ก่อนนำไปปักชำในวัสดุเพาะชำ การฉีดพ่นไคโตซานในนาข้าวส่งให้ผลผลิตข้าวมีปริมาณเพิ่มขึ้น 41.7 – 91.5% โดยขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่ทำการเพาะปลูก และการใช้ไคโตซานฉีดพ่นกล้วยไม้ซึ่งมีผลเร่งการเจริญเติบโตของใบใหม่ ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมต่อการเพิ่มจำนวนดอกและกระตุ้นการเจริญเติบโตของใบ
4. ช่วยปรับค่าPHและเป็นประโยชน์ต่อจุลินทรีย์ในดิน
ช่วยเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน ไคโตซาน สามารถ ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน เช่น เชื้อที่มีประโยชน์ต่อพืชทำให้เกิดการลดปริมาณของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคพืช ปรับค่า PH ของดินให้เป็นกลาง เป็นปุ๋ยให้แก่พืช พืชทุกชนิดที่ได้ใช้ ไคโตซาน จะทำให้พืชสามารถตรึงเอาไนโตรเจนนำมาใช้ได้ ถ้าเป็นเห็ดสามารถตรึงเอาคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ได้เป็นอย่างดี ดินที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชจะต้องมีค่า pH 5.5-8.5 การใช้ ไคโตซานอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ค่า pH ของดินเท่ากับ 6-7 ซึ่งเป็นกลางที่สุด จึงเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชอย่างยิ่ง รวมทั้งคุณสมบัติที่ช่วยสลายเคมีในดิน อันต่อเนื่องจากใช้ปุ๋ยเคมีอย่างยาวนาน รวมทั้งช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน รวมทั้งลดปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นโรคพืช
5.ประโยชน์ของการใช้ไคโตซานหลังการเก็บเกี่ยวพืชผล
พืชที่ใช้ ไคโตซานทุกชนิด จะเก็บไว้ได้ยาวนานกว่าพืชที่ไม่ได้ใช้ (พิสูจน์ได้) โดยการรักษาคุณภาพผลผลิต เพราะว่าพืชที่ใช้ไคโตซาน มีการเคลือบบนผิวผักผลไม้เป็นลักษณะฟิล์มบางใส ๆ ปราศจากสีและกลิ่น ทนทานต่อสภาวะกรดได้ดี
การใช้เวิลด์แพลนท์ไคโตซาน
20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร